ตัววิ่ง

ยินดีต้อนรับสู่เว็บบล็อกของ นางสาวจิรนันท์ รุ่งเเสงเงิน ได้เลยคะ

วันจันทร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2559

ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน

ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน

 กลไกของการเกิดความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันมีอยู่   3   แบบคือ

1)  การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันร่างกายบกพร่อง (immune deficiency) 

ซึ่งอาจเป็นมาตั้งแต่เกิด (เช่น โรค hypogammaglobulinemia ในเด็กหรือ เกิดขึ้นในระยะหลัง (acquired) จากการติดเชื้อไวรัสบางชนิด (เช่นไวรัสเอดส์)   ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน (เช่น เคมีบำบัดที่ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง ยาในกลุ่มสเตียรอยด์)  สัมผัสกับสารกัมมันตภาพรังสี อ่านเพิ่มเติม


การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับระบบร่างกาย



การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับระบบร่างกาย

  การดำเนินงานบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น มีผู้รับผิดชอบ 2 ระดับ คือ ระดับคลังวัคซีน อำเภอมีเภสัชกรของโรงพยาบาลที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้รับผิดชอบ และระดับหน่วยบริการมีหัวหน้าหรือ ผู้รับผิดชอบงานของหน่วยบริการได้แก่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.) หน่วยบริการในโรงพยาบาลทั้งใน และนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรวมทั้งศูนย์การแพทย์ต่างๆเป็นผู้ดำเนินงานบริหารจัดการวัคซีน ซึ่งมีกิจกรรม ที่ดำเนินการดังต่อไปนี้  อ่านเพิ่มเติม


การป้องกันเเละกำจัดเชื้อโรคของร่างกาย



การป้องกันเเละกำจัดเชื้อโรคของร่างกาย

 โดยปกติแล้วร่างกายของคนเรา มีกลไกในการป้องกันและกำจัดเชื้อโรคอยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งเปรียบเสมือนกับกำแพงเมือง ด่าน หรือป้อมปราการที่สร้างไว้สำหรับเป็นเครื่องกีดขว้าง สกัดกั้นหรือดักจับทำลายเชื้อโรค เพื่อไม่ให้เข้าไปทำอันตรายเซลล์ เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะที่ทำหน้าที่สำคัญๆ ภายในร่างกายจนเกิดเป็นโรคร้ายแรงได้ ด่านหรืออวัยวะที่ช่วยป้องกันและกำจัดเชื้อโรคโดยอัตโนมัตินั้นมีอยู่ทั้งหมด 3 ด่านด้วยกันคือ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 2 อยู่อย่างปลอดภัย

กลไกการรักษาดุลยภาพของน้ําเเละเเร่ธาตุในสัตว์ต่างๆ

กลไกการรักษาดุลยภาพของน้ําเเละเเร่ธาตุในสัตว์ต่างๆ

ปลาน้ำจืด จึงพยายามไม่ดื่มน้ำและไม่ให้น้ำซึมเข้าทางผิวหนังหรือเกล็ด แต่ปลายังมีบริเซณที่น้ำสามารถ ซึมเข้า ไปได้ คือ บริเวณเหงือกซึ่งสัมผัสกับน้ำตลอดเวลา ดังนั้นปลาจึงต้องขับน้ำออกทางไตเป็นน้ำปัสสาวะ ซึ่งเจือจาง และมี ปริมาณมาก และปลาจะมีเซลล์สำหรับดูดซับเกลือ ( salt absorbing cells ) อยู่ที่เยื่อบุผิวของเหงือก ซึงจะ ดูดซับเอาไอออนของเกลือจากน้ำเข้าไปในเลือด ซึ่งจะเป็นการทดแทนเกลือแร่ที่สูญเสียไปจากการแพร่ออก อ่านเพิ่มเติม


กลไกการรักษาดุลยภาพของน้ําเเละเเร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

กลไกการรักษาดุลยภาพของน้ําเเละเเร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

     โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมากมายมหาศาลมาอยู่ร่วมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งการทำงานของเซลล์ต่าง ๆ ก็ต้องอาศัยสภาพแวดล้อมที่มีความเหมาะสมต่อเซลล์ด้วย ดังนั้นในโครงสร้างร่างกายของสิ่งมีชีวิตจึงจำเป็นต้องมีระบบการรักษาดุลยภาพของสารต่าง ๆ เพื่อช่วยควบคุมปริมาณสารต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมต่อการทำงานของเซลล์อยู่เสมอ โดยระบบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุของพืช สัตว์ต่าง ๆ รวมถึงมนุษย์จะมีความแตกต่างกันดังนี้อ่านเพิ่มเติม


กลไกการรักษาของน้ำในพืช

กลไกการรักษาของน้ำในพืช



กลไกสำคัญในการรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช คือ ควบคุมสมดุลระหว่างการคายน้ำผ่านปากใบและการดูดน้ำที่ราก ถ้าคายน้ำมากก็ต้องดูดน้ำเข้าทางรากมากเช่นกัน ส่วนมากจะคายน้ำที่ปากใบ
การคายน้ำทางปากใบ เรียกว่า สโตมาทอล ทรานสพิเรชัน ( stomatal transpiration ) เป็นการคายน้ำที่เกิดขึ้นมากถึง 90 %อ่านเพิ่มเติม


กลไกการรักษาดุลยภาพ

กลไกการรักษาดุลยภาพ

การควบคุมสภาวะกรด-ด่าง หลักๆในร่างกาย มีกลไกลทางสรีรวิทยาอยู่ 3 แบบคือ --ทางเคมี --ทางการหายใจ และทางไต
1. การควบคุมภาวะกรด – ด่างด้วยวิธีทางเคมี (chemical regulation of acid – base balane)  อ่านเพิ่มเติม

การออสโมซิส



การออสโมซิส

การออสโมซิส (อังกฤษOsmosis) เป็นกระบวนการแพร่โมเลกุลของน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่าน. จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ำมาก (สารละลายความเข้มข้นต่ำ) ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ำน้อย (สารละลายความเข้มข้นสูง) กระจายจนกว่าโมเลกุลของน้ำจะเท่ากัน เป็นกระบวนการทางกายภาพที่ตัวทำละลายจะเคลื่อนที่โดยอาศัยพลังงานความร้อน ผ่านเยื่อเลือกผ่าน (ซึ่งตัวทำละลายจะผ่านเยื่อเลือกผ่านได้ แต่สารละลายจะไม่สามารถผ่านเยื่อเลือกผ่านได้การออสโมซิส)ก่อให้เกิดพลังงาน และสามารถสร้างแรงได้ อ่านเพิ่มเติม


การเเพร่

การเเพร่

การแพร่ เป็นการกระจายตัวของโมเลกุลของสสารจากจุดที่มีความเข้มข้นสูงกว่า ไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าด้วยการเคลื่อนที่เชิงสุ่มของโมเลกุล การแพร่จะทำให้ เกิดการผสมของวัสดุอย่างช้าๆ สำหรับเฟสหนึ่งๆของวัสดุใดๆก็ตามที่มีอุณหภูมิสม่ำเสมอ และไม่มีแรงภายนอกมากระทำกับอนุภาคกระบวนการแพร่ก็จะยังคงเกิดถึงแม้ว่า จะสารจะผสมกันโดยสมบูรณ์หรือเข้าสู่ภาวะสมดุลแล้ว โดยพื้นฐานแล้ว การเคลื่อนที่ของโมเลกุล จากพื้นที่ที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่ความเข้มข้นที่ต่ำกว่าเรียกว่าการแพร่ทั้งสิ้น  อ่านเพิ่มเติม


การลำเลียงสารเข้าเเละออกจากเซลล์

การลำเลียงสารเข้าเเละออกจากเซลล์


สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องมีการรับสารจากภายนอก เช่น แร่งธาตุ น้ำ และอาหาร เข้าสู่เซลล์ เป็นต้น ในขณะเดียวกันเซลล์ก็จะกำจัดสารส่วนเกินหรือของเสียออกสู้ภายนอกด้วย เพื่อปรับหรือรักษาสภาพภายในเซลล์ให้เหมาะสมทำให้สามารถมีชีวิตได้ตามปกติ  อ่านเพิ่มเติม


เซลล์เเละองค์ประกอบสำคัญของเซลล์



เซลล์เเละองค์ประกอบสำคัญของเซลล์

เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้  จึงต้องมีเครื่องมือที่ช่วยในการมองเห็น  คือ  กล้องจุลทรรศน์  การศึกษาเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ดำเนินมาอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการพัฒนาของกล้องจุลทรรศน์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น  จนสามารถทำให้มองเห็นส่วนประกอบต่างๆภายในเซลล์ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น  ปัจจุบันการศึกษาเรื่องเซลล์ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว  จึงสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย  ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์และทางการแพทย์ เพิ่มเติม


บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข